Music Massage by Pong: นวดประกอบเพลงโดยพงษ์
ยินดีต้อนรับคุณ,
บุคคลทั่วไป
กรุณา
เข้าสู่ระบบ
หรือ
ลงทะเบียน
ส่งอีเมล์ยืนยันการใช้งาน?
1 ชั่วโมง
1 วัน
1 สัปดาห์
1 เดือน
ตลอดกาล
เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว:
หน้าแรก
ช่วยเหลือ
ค้นหา
ปฏิทิน
Recent Topics
สมาชิก
View the memberlist
ค้นหาผู้ใช้
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิก
Like stats
Music Massage by Pong: นวดประกอบเพลงโดยพงษ์
»
Members' Forum
»
มุมทั่วไป มุมความรู้ เคล็ดลับต่างๆ เทคโนโลยีใหม่ๆ
(ผู้ดูแล:
admin
) »
มาคุยเรื่องเงินเฟ้อกันเถอะครับ
« หน้าที่แล้ว
ต่อไป »
พิมพ์
หน้า: [
1
]
2
ลงล่าง
ผู้เขียน
หัวข้อ: มาคุยเรื่องเงินเฟ้อกันเถอะครับ (อ่าน 1859 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
benzkung
PREVILEGE MEMBER
กระทู้: 5,160
Total likes: 117
คะแนนพิเศษ: +1/-0
มาคุยเรื่องเงินเฟ้อกันเถอะครับ
«
เมื่อ:
สิงหาคม 07, 2017, 10:56:20 PM »
เงินเฟ้อคืออะไร
ภาวะเงินเฟ้อ หมายถึง ภาวะที่ราคาสินค้าและบริการโดยทั่วไปเพิ่มสูงขึ้นต่อเนื่อง ซึ่งหาก
เงินเฟ้อเพิ่มขึ้นมากจะกระทบต่อฐานะและความเป็นอยู่ของประชาชน
ทั้งนี้จึงจ าเป็นต้องมีหน่วยงานท าหน้าที่ควบคุมดูแลเรื่องเงินเฟ้อ คือ 1. กระทรวงพาณิชย์ และ
2. ธนาคารแห่งประเทศไทย
1. กระทรวงพาณิชย์
ส่วนหนึ่งคือการดูแลราคาสินค้าและบริการไม่ให้ผู้ประกอบการฉวยโอกาสหรือเอา
เปรียบผู้บริโภค หรือตรึงราคาไว้ในช่วงที่สินค้าขาดแคลนระยะสั้น นอกจากนี้ยังท าหน้าที่ติดตาม
รวบรวมข้อมูลราคาสินค้าและบริการที่ผู้บริโภคซื้อเป็นประจ าทุกวันจากตลาดและแหล่งจ าหน่าย
ต่างๆทั่วประเทศ น ามาค านวณจัดท าเป็นดัชนีที่เรียกว่า ดัชนีราคาผู้บริโภค เพื่อเผยแพร่ให้
ประชาชนทราบภาวะเงินเฟ้อสามารถวัดได้จากการเปลี่ยนแปลงของดัชนีดังกล่าว ซึ่งเรียกตัวชี้วัด
นี้ว่า อัตราเงินเฟ้อ
2. ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.)
ด าเนินนโยบายการเงินผ่านเครื่องมือที่เรียกว่า อัตราดอกเบี้ยนโยบาย เพื่อดูแลเงินเฟ้อ
ให้อยู่ในระดับต่ าและไม่ผันผวน ซึ่งเอื้อต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนในระยะยาว และ
ความกินดีอยู่ดีของประชาชน
บันทึกการเข้า
(1 person liked this)
benzkung
PREVILEGE MEMBER
กระทู้: 5,160
Total likes: 117
คะแนนพิเศษ: +1/-0
Re: มาคุยเรื่องเงินเฟ้อกันเถอะครับ
«
ตอบกลับ #1 เมื่อ:
สิงหาคม 07, 2017, 10:56:42 PM »
เงินเฟ้อเกิดจากอะไร???
สาเหตุการเกิดเงินเฟ้อแบ่งได้เป็น 2 สาเหตุหลัก ๆ คือ
1. ประชาชนต้องการซื้อสินค้าและบริการเพิ่มขึ้น (เรียกว่า Demand – Pull Inflation)
ประกอบกับสินค้าและบริการนั้นๆ ในตลาดมีไม่เพียงพอ ท าให้ผู้ขายปรับราคาสินค้าและบริการสูงขึ้น
2. ต้นทุนการผลิตที่เพิ่มขึ้น (เรียกว่า Cost – Push Inflation) กล่าวคือ หากผู้ผลิตไม่สามารถ
แบกรับภาระต้นทุนที่สูงขึ้นได้จะท าให้ผู้ผลิตต้องปรับราคาสินค้าและบริการให้สูงขึ้นด้วย
บันทึกการเข้า
benzkung
PREVILEGE MEMBER
กระทู้: 5,160
Total likes: 117
คะแนนพิเศษ: +1/-0
Re: มาคุยเรื่องเงินเฟ้อกันเถอะครับ
«
ตอบกลับ #2 เมื่อ:
สิงหาคม 07, 2017, 10:57:22 PM »
แล้วต่างจากเงินฝืดยังไงละ???
ตรงกันข้ามกับภาวะเงินเฟ้อ ภาวะเงินฝืดเกิดขึ้นเมื่อระดับราคาสินค้าและบริการลดลงอย่าง
ต่อเนื่อง โดยมีสาเหตุหลายประการ เช่น ความต้องการซื้อสินค้าและบริการของประชาชนลดลง หรือ ปริมาณเงินที่
หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ มีไม่เพียงพอกับความต้องการ ซึ่งอาจท าให้ราคาสินค้าปรับลดลง ผู้ผลิตก็อาจไม่
ต้องการผลิตสินค้าและบริการในปริมาณเท่าเดิม ท าให้ลดก าลังการผลิตลง และส่งผลให้เศรษฐกิจ
ซบเซาในที่สุด
จะเห็นได้ว่า ทั้งภาวะเงินเฟ้อและเงินฝืด เกิดจากการเคลื่อนไหวขึ้นลงของเศรษฐกิจตาม
วัฏจักร แต่หากมีความรุนแรงและยืดเยื้อ ก็ล้วนส่งผลเสียต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจและความกินดีอยู่ดีของ
ประชาชนด้วยกันทั้งสิ้น
บันทึกการเข้า
benzkung
PREVILEGE MEMBER
กระทู้: 5,160
Total likes: 117
คะแนนพิเศษ: +1/-0
Re: มาคุยเรื่องเงินเฟ้อกันเถอะครับ
«
ตอบกลับ #3 เมื่อ:
สิงหาคม 07, 2017, 10:57:56 PM »
ผลกระทบของเงินเฟ้อ ต่อประชาชนทั่วไป
รายจ่ายหรือภาระค่าครองชีพสูงขึ้น ท าให้ประชาชนมีอ านาจซื้อน้อยลง มี
ความสามารถจับจ่ายซื้อสินค้าและบริการได้น้อยลง และอาจท าให้รายได้ที่มีหรือเงินที่หามาได้ไม่
เพียงพอกับการยังชีพ
อัตราเงินเฟ้อยิ่งสูง จะส่งผลให้อัตราดอกเบี้ยที่หักเงินเฟ้อออก หรือที่เรียกว่า อัตรา
ดอกเบี้ยที่แท้จริง จะมีค่าลดลงไป เนื่องจากดอกเบี้ยที่เราได้รับเอาไปใช้ซื้อของได้น้อยลง ยกตัวอย่าง
กรณีที่อัตราดอกเบี้ยเงินฝากอยู่ที่ร้อยละ 1.5 ต่อปีแต่หากอัตราเงินเฟ้อหรือราคาเพิ่มขึ้นมาร้อยละ
1 อาจกล่าวได้ว่าอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงหรือผลตอบแทนสุทธิที่ได้รับจริงๆ อยู่ที่ร้อยละ 0.5 ต่อปี
เท่านั้น แต่หากปีต่อไป อัตราดอกเบี้ยเงินฝากยังเท่าเดิม แต่อัตราเงินเฟ้อสูงขึ้นไปอยู่ที่ร้อยละ 2
อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงจะกลายเป็นร้อยละ - 0.5 ต่อปี ซึ่งถือว่าก าลังซื้อของผู้ฝากเงินลดลง การฝาก
เงินท าให้ได้รับผลตอบแทนจริงๆ ติดลบ ท าให้ผู้ฝากไม่อยากออมเงิน และอาจหันไปลงทุนใน
สินทรัพย์ประเภทอื่นที่ให้ผลตอบแทนสูงกว่า เช่น ทองค า อสังหาริมทรัพย์และหุ้น เป็นต้น ท าให้ต้อง
เผชิญกับความเสี่ยงที่สูงขึ้นด้วย หากไม่มีความรู้เพียงพอในการบริหารจัดการ ก็อาจท าให้เกิดเป็น
ภาระหนี้สินได้
บันทึกการเข้า
benzkung
PREVILEGE MEMBER
กระทู้: 5,160
Total likes: 117
คะแนนพิเศษ: +1/-0
Re: มาคุยเรื่องเงินเฟ้อกันเถอะครับ
«
ตอบกลับ #4 เมื่อ:
สิงหาคม 07, 2017, 10:58:23 PM »
ผลกระทบต่อผู้ประกอบการ / นักธุรกิจ
เมื่อสินค้ามีราคาแพงขึ้น ยอดขายก็จะลดลง ในขณะเดียวกัน ต้นทุนการผลิตก็จะสูงขึ้น
ด้วย ส่งผลให้เจ้าของธุรกิจบางรายอาจตัดสินใจชะลอการผลิต ลดการลงทุนและการจ้างงาน ท าให้
คนตกงานมากขึ้น
ความสามารถในการแข่งขันของภาคธุรกิจในประเทศลดลง เนื่องจากราคาสินค้าส่งออก
ของเราจะสูงขึ้นเมื่อเทียบกับราคาสินค้าออกของประเทศอื่นๆ
บันทึกการเข้า
benzkung
PREVILEGE MEMBER
กระทู้: 5,160
Total likes: 117
คะแนนพิเศษ: +1/-0
Re: มาคุยเรื่องเงินเฟ้อกันเถอะครับ
«
ตอบกลับ #5 เมื่อ:
สิงหาคม 07, 2017, 10:58:47 PM »
ผลกระทบต่อประเทศชาติ
ในภาวะที่ประชาชนซื้อของน้อยลง ธุรกิจไม่สามารถขายของได้ การลงทุนเพื่อผลิต
สินค้าก็จะชะลอออกไป ท าให้การพัฒนาศักยภาพการผลิตของประเทศในระยะยาวอาจชะลอลงตาม
ไปด้วย
ถ้าอัตราเงินเฟ้อสูงจนท าให้อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงติดลบนานๆ ประชาชนก็จะหันไป
เก็งก าไรในสินทรัพย์ที่มีความเสี่ยงสูง สะสมปัญหาฟองสบู่ในสินทรัพย์ต่างๆ (asset price bubble)
และความไม่สมดุลในภาคการเงินของประเทศได้เช่น หนี้ครัวเรือน
บันทึกการเข้า
benzkung
PREVILEGE MEMBER
กระทู้: 5,160
Total likes: 117
คะแนนพิเศษ: +1/-0
Re: มาคุยเรื่องเงินเฟ้อกันเถอะครับ
«
ตอบกลับ #6 เมื่อ:
สิงหาคม 07, 2017, 10:59:32 PM »
ต่อมาเราจะมาคุยในแง่ของ ธนาคารกลางแห่งประเทศไทยในการดูแลเงินเฟ้อนะครับ
บันทึกการเข้า
benzkung
PREVILEGE MEMBER
กระทู้: 5,160
Total likes: 117
คะแนนพิเศษ: +1/-0
Re: มาคุยเรื่องเงินเฟ้อกันเถอะครับ
«
ตอบกลับ #7 เมื่อ:
สิงหาคม 07, 2017, 10:59:51 PM »
วัตถุประสงค์ในการดูแลเงินเฟ้อ
พันธกิจหลักของ ธปท. คือ การดูแลให้ระบบเศรษฐกิจมีเสถียรภาพด้านราคา ซึ่งหมายถึง
การมีอัตราเงินเฟ้ออยู่ในระดับต่่าและไม่ผันผวน (Low and Stable Inflation) ราคาสินค้าไม่เปลี่ยนแปลงขึ้น
หรือลงรวดเร็วจนเกินไป ซึ่งจะช่วยให้การตัดสินใจวางแผนการบริโภค การผลิต การออม การลงทุนของ
ภาคเอกชนง่ายขึ้น ตลอดจนสร้างบรรยากาศที่ดีเพื่อสนับสนุนการเติบโตทางเศรษฐกิจ รวมทั้งการจ้างงานอย่าง
ยั่งยืนในระยะยาว
บันทึกการเข้า
benzkung
PREVILEGE MEMBER
กระทู้: 5,160
Total likes: 117
คะแนนพิเศษ: +1/-0
Re: มาคุยเรื่องเงินเฟ้อกันเถอะครับ
«
ตอบกลับ #8 เมื่อ:
สิงหาคม 07, 2017, 11:02:01 PM »
วิธีการในการดูแลเงินของ ธปท.
การก่าหนดเป้าหมายนโยบายการเงิน
ธปท. ใช้เครื่องมือที่เรียกว่า “นโยบายการเงิน” ในการดูแลให้ระบบเศรษฐกิจมี
เสถียรภาพด้านราคา โดยก าหนดเป้าหมายนโยบายการเงิน เพื่อดูแลการคาดการณ์เงินเฟ้อ (Inflation
Expectation) ของประชาชน ซึ่งจะส่งผลต่อระดับราคาสินค้าและบริการในระบบเศรษฐกิจ การก าหนด
เป้าหมายนโยบายการเงินของไทยที่ผ่านมาแบ่งออกเป็น 3 ช่วง คือ
เป้าหมายอัตราแลกเปลี่ยน (Exchange rate targeting) ในช่วงหลัง
สงครามโลกครั้งที่ 2 ธปท. ใช้อัตราแลกเปลี่ยนเป็นเป้าหมายในการด าเนินนโยบายการเงิน โดยผูกค่าเงิน
บาทไว้กับเงินสกุลดอลลาร์ สรอ. และเงินสกุลหลักอื่นๆ ซึ่งอัตราแลกเปลี่ยนที่คงที่จะช่วยดูแลระดับราคา
สินค้า
ในประเทศไม่ให้ผันผวนขึ้นลงรุนแรงตามแรงกดดันและความเสี่ยงในระบบการเงินโลก และช่วยให้
เศรษฐกิจเจริญเติบโตในระยะยาวได้
เป้าหมายปริมาณเงิน (Monetary Targeting) ในระยะต่อมา การเปิดเสรี
ด้านการค้าและการเงินของไทยท าให้ระบบเป้าหมายอัตราแลกเปลี่ยนได้รับแรงกดดันจากการเก็งก าไร
ประเทศไทยจึงหันมาใช้ปริมาณเงินเป็นเป้าหมายในการด าเนินนโยบายแทน ซึ่งอิงกับกรอบการจัดท า
โปรแกรมกับกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) เพื่อให้เกิดความสอดคล้องระหว่างนโยบายการเงิน
นโยบายการคลัง และเม็ดเงินจากภาคต่างประเทศ โดย ธปท. ก าหนดฐานเงินรายไตรมาสและรายวัน เพื่อ
ใช้เป็นหลักในการบริหารสภาพคล่องรายวัน รวมทั้งปรับสภาพคล่องและอัตราดอกเบี้ยในระบบการเงิน
ไม่ให้เคลื่อนไหวผันผวนจนเกินไป
เป้าหมายเงินเฟ้อ (Inflation Targeting) ธปท. ได้พิจารณาปัจจัยต่างๆ ใน
ระบบการเงินแล้วเห็นว่า การด าเนินนโยบายการเงินภายใต้กรอบเป้าหมายปริมาณเงินมีประสิทธิผลไม่
มากนัก โดยเฉพาะหลังวิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 ที่การขยายตัวของปริมาณเงินและเศรษฐกิจไม่สอดคล้อง
กันเท่าที่ควร ท าให้ ธปท. ตัดสินใจใช้เงินเฟ้อเป็นกรอบเป้าหมายการด าเนินนโยบายการเงิน ซึ่งกรอบ
ดังกล่าวมีความยืดหยุ่นกว่าและสอดคล้องกับภาวะและโครงสร้างเศรษฐกิจไทย ภายใต้กรอบเป้าหมายเงิน
เฟ้อนี้ธปท. ไม่ได้ให้ความส าคัญกับการดูแลอัตราเงินเฟ้อเพียงอย่างเดียว แต่ยังดูแลให้เศรษฐกิจขยายตัว
ได้อย่างราบรื่นภายใต้เสถียรภาพทางการเงินที่แข็งแกร่ง รวมทั้งดูแลไม่ให้เกิดความไม่สมดุลในภาคส่วน
ต่างๆ อาทิ ภาคครัวเรือน ภาคธุรกิจ ภาคสถาบันการเงิน และตลาดการเงินด้วย
บันทึกการเข้า
benzkung
PREVILEGE MEMBER
กระทู้: 5,160
Total likes: 117
คะแนนพิเศษ: +1/-0
Re: มาคุยเรื่องเงินเฟ้อกันเถอะครับ
«
ตอบกลับ #9 เมื่อ:
สิงหาคม 07, 2017, 11:02:42 PM »
วิธีการในการดูแลเงินของ ธปท.
กระบวนการด่าเนินนโยบายการเงิน
ในกระบวนการก าหนดนโยบายการเงินจะมีคณะกรรมการที่เรียกว่า
“คณะกรรมการนโยบายการเงิน” หรือ กนง. ซึ่งประกอบด้วยผู้บริหารระดับสูงของ ธปท. 3 ท่าน และ
ผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอก 4 ท่าน ติดตามภาวะเศรษฐกิจและเงินเฟ้อ รวมถึงก าหนดทิศทางนโยบาย
การเงินที่เหมาะสม โดย ธปท. ใช้อัตราดอกเบี้ยธุรกรรมซื้อคืนพันธบัตรแบบทวิภาคีระยะ 1 วัน (1 - day
bilateral RP) เป็นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย ซึ่งเป็นเครื่องมือในการส่งสัญญาณนโยบายการเงินเพื่อดูแลการ
คาดการณ์เงินเฟ้อและเสถียรภาพเศรษฐกิจ กนง. จะพิจารณาจากความเสี่ยงด้านการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
และเงินเฟ้อ (balance of risk between growth and inflation) เป็นหลัก ทั้งนี้ การดูแลรักษาระดับ
8
อัตราดอกเบี้ยนโยบายให้เป็นไปตามที่ กนง. ก าหนด ธปท. จะด าเนินการผ่านเครื่องมือ (Monetary Policy
Instruments) 3 ประเภท คือ
การด ารงสินทรัพย์สภาพคล่องของสถาบันการเงิน (Reserve Requirement)
การท าธุรกรรมปรับสภาพคล่องผ่านตลาดการเงิน (Open Market
Operations)
หน้าต่างปรับสภาพคล่อง ณ สิ้นวัน (Standing Facilities)
นอกจากนี้ กนง. มีหน้าที่ก าหนดแนวนโยบายอัตราแลกเปลี่ยนที่เหมาะสมกับ
นโยบายการเงินด้วย ทั้งนี้ กนง. จะมีการประชุมปีละ 8 ครั้ง (ทุก 6 – 8 สัปดาห์)
การตัดสินนโยบายการเงินจะต้องมองไปข้างหน้า เนื่องจากการส่งผ่านของนโยบาย
ต้องใช้ระยะเวลา (time lags) จึงต้องมีเครื่องมือสนับสนุน คือ (1) แบบจ าลองเศรษฐกิจ (BOTMM) ในการ
พยากรณ์เศรษฐกิจ และ (2) ข้อสมมติเกี่ยวกับปัจจัยภายนอกที่ไม่ถูกก าหนดในระบบเศรษฐกิจ เช่น
เศรษฐกิจโลกและราคาน้ ามัน เพื่อให้กนง. สามารถน าข้อมูลเหล่านี้มาพิจารณาตัดสินนโยบายการเงิน
การด าเนินนโยบายการเงินภายใต้กรอบเป้าหมายเงินเฟ้อ การสื่อสารต่อ
สาธารณชนเป็นสิ่งส าคัญในการดูแลการคาดการณ์เงินเฟ้อของประชาชน ดังนั้น ธปท. จึงมีการสื่อสาร
แนวคิดและเหตุผลของการตัดสินนโยบายของ กนง. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการส่งผ่านนโยบายการเงิน
ทั้งหมด 5 รูปแบบ คือ
1. การแถลงข่าวผลการประชุม กนง. (Press Conference)
ภายหลังการประชุม เวลา 14.00 น. โดยมีเลขานุการ กนง. เป็นผู้แถลง
ข่าวผลการประชุม ตอบค าถามสื่อมวลชนเรื่องการตัดสินนโยบาย รวมทั้งเปิดเผย
ผลโหวตหรือการลงคะแนนเสียงของ กนง. ในการตัดสินนโยบาย ขณะเดียวกัน
ธปท. จะท าธุรกรรม open market operations เพื่อรักษาระดับอัตราดอกเบี้ย
นโยบายให้อยู่ในระดับที่ กนง. ก าหนด
9
2. การเผยแพร่รายงานผลการประชุม กนง. ฉบับย่อ (Edited Minutes)
หลังจากการประชุม กนง. 2 สัปดาห์ เพื่อสื่อให้สาธารณชนได้รับทราบ
และท าความเข้าใจการตัดสินใจของ กนง. ในแต่ละครั้ง และเพิ่มประสิทธิภาพ
ของการส่งผ่านนโยบายการเงินผ่านการคาดการณ์ของตลาด
3. การเผยแพร่รายงานนโยบายการเงิน
เป็นประจ าทุกไตรมาส เพื่อเสนอการประมาณการภาวะเศรษฐกิจและ
แนวโน้มอัตราเงินเฟ้อ และถ่ายทอดแนวความคิดของ กนง. ต่อสาธารณชน
รวมถึงอธิบายเหตุผลของการตัดสินนโยบายต่างๆ ในรายละเอียด
4. การประชุมพบปะกับนักลงทุน (Investors Meeting)
เป็นประจ าทุกไตรมาสหลังจากการแถลงข่าวรายงานแนวโน้มเงินเฟ้อ
เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับนักลงทุนเกี่ยวกับแนวโน้มของเศรษฐกิจและเงิน
เฟ้อ
5. การสื่อสารกับสาธารณชนของผู้บริหารระดับสูงของ ธปท. (Governors
and Deputy Governors’ Speeches)
เพื่อสร้างความเข้าใจที่ตรงกันของสาธารณชนเกี่ยวกับแนวทาง
การด าเนินนโยบายของ ธปท.
บันทึกการเข้า
benzkung
PREVILEGE MEMBER
กระทู้: 5,160
Total likes: 117
คะแนนพิเศษ: +1/-0
Re: มาคุยเรื่องเงินเฟ้อกันเถอะครับ
«
ตอบกลับ #10 เมื่อ:
สิงหาคม 07, 2017, 11:03:29 PM »
วิธีการในการดูแลเงินของ ธปท.
ความสัมพันธ์ระหว่างดอกเบี้ยและเงินเฟ้อ
ในยามที่เศรษฐกิจร้อนแรง คนต้องการบริโภคและลงทุนเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ราคา
สินค้าและบริการปรับสูงขึ้น แต่ถ้ารายได้ยังคงเดิม จะท าให้คนซื้อของได้น้อยลงและกระทบต่อชีวิตความ
เป็นอยู่ ธปท. มีหน้าที่หลักในการดูแลเสถียรภาพด้านราคา โดยใช้อัตราดอกเบี้ยนโยบายเป็นเครื่องมือใน
การด าเนินนโยบายการเงิน ทั้งนี้ เมื่อเงินเฟ้อเพิ่มสูงขึ้น ท าให้ต้องมีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย เพื่อ
ส่งสัญญาณให้ธนาคารพาณิชย์รู้ว่าธปท. ต้องการให้อัตราดอกเบี้ยในตลาดการเงินปรับสูงขึ้น โดยธปท. จะ
ดูดซับสภาพคล่องหรือดูดเงินออกจากระบบการเงินเพื่อให้ภาวะการเงินตึงตัว ดังนั้น ธนาคารพาณิชย์แต่ละ
แห่งจะต้องเพิ่มสภาพคล่องของตนเอง โดยการปรับอัตราดอกเบี้ยเงินฝากให้สูงขึ้นเพื่อระดมเงินฝากมากขึ้น
ขณะเดียวกัน ก็ปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ตามต้นทุนเงินฝากที่สูงขึ้น การที่อัตราดอกเบี้ยเงินฝากสูงขึ้นจะ
จูงใจให้คนมาฝากเงินมากขึ้นและใช้จ่ายน้อยลง ขณะที่อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่สูงขึ้นก็ท าให้คนกู้เงินน้อยลง
เมื่อความต้องการสินค้าและบริการลดลง จะส่งผลให้ระดับราคาสินค้าลดลง และชะลอเงินเฟ้อ
ข้อมูลภาวะและแนวโน้มเศร้ษฐกิจการเงิน/ข้อเสนอแนะ
กลยุทธ์นโยบายการเงินจากคณะเลขานุการ กนง.
ประชุม กนง. 8 ครั้งต่อปี เพื่อประเมินภาวะและ
แนวโน้มเศรษฐกิจการเงินและเงินเฟ้อ
ตัดสินนโยบายการเงิน : ขึ้น / คง / ลด
อัตราดอกเบี้ยนโยบาย
สื่อสารกับสาธารณชนและรักษาอัตราดอกเบี้ยนโยบาย
11
ในทางกลับกัน หากเศรษฐกิจซบเซา ประชาชนไม่อยากใช้จ่าย ราคาสินค้าและ
บริการปรับลดลง ท าให้ต้องปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ การที่อัตราดอกเบี้ย
นโยบายลดลงจะท าให้อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงของธนาคารพาณิชย์ลดลงเช่นกัน ซึ่งเป็นแรงจูงใจให้คนบริโภค
และลงทุนมากขึ้น เมื่อความต้องการสินค้าและบริการเพิ่มสูงขึ้น จะส่งผลให้ระดับราคาปรับสูงขึ้นตามไป
ด้วย
บันทึกการเข้า
benzkung
PREVILEGE MEMBER
กระทู้: 5,160
Total likes: 117
คะแนนพิเศษ: +1/-0
Re: มาคุยเรื่องเงินเฟ้อกันเถอะครับ
«
ตอบกลับ #11 เมื่อ:
สิงหาคม 07, 2017, 11:04:14 PM »
วิธีการในการดูแลเงินของ ธปท.
ช่องทางการส่งผ่านนโยบายการเงิน
โดยทั่วไป ธนาคารกลางมีหน้าที่ด าเนินนโยบายการเงินเพื่อดูแลอัตราเงินเฟ้อให้
สอดคล้องและเอื้อต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยอาศัยดอกเบี้ยนโยบายเป็นเครื่องมือ ทั้งนี้ การปรับขึ้นลง
ของอัตราดอกเบี้ยดังกล่าวมีขั้นตอนในการส่งผ่านไปยังภาคเศรษฐกิจที่แท้จริงได้ทั้งหมด 5 ช่องทาง ได้แก่
1. ช่องทางอัตราดอกเบี้ย (Interest rate channel)
2. ช่องทางสินเชื่อ (Credit channel)
3. ช่องทางราคาสินทรัพย์ (Asset price channel)
4. ช่องทางอัตราแลกเปลี่ยน (Exchange rate channel)
5. ช่องทางการคาดการณ์ (Expectations channel)
บันทึกการเข้า
benzkung
PREVILEGE MEMBER
กระทู้: 5,160
Total likes: 117
คะแนนพิเศษ: +1/-0
Re: มาคุยเรื่องเงินเฟ้อกันเถอะครับ
«
ตอบกลับ #12 เมื่อ:
สิงหาคม 07, 2017, 11:04:37 PM »
1. ช่องทางอัตราดอกเบี้ย (Interest rate channel)
เมื่อธนาคารกลางปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลง อัตราดอกเบี้ยอื่นๆ
ในตลาดการเงินจะปรับลดลงรวมทั้งอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและอัตราดอกเบี้ย
เงินกู้ ท าให้ต้นทุนของการกู้เงินเพื่อมาบริโภคและลงทุน รวมถึงต้นทุนค่าเสีย
โอกาสในการถือเงินลดต่ าลง ส่งผลให้ความต้องการบริโภคและลงทุนของ
ประชาชนเพิ่มมากขึ้น กิจกรรมทางเศรษฐกิจจึงขยายตัวและเติบโตเพิ่มขึ้น
บันทึกการเข้า
benzkung
PREVILEGE MEMBER
กระทู้: 5,160
Total likes: 117
คะแนนพิเศษ: +1/-0
Re: มาคุยเรื่องเงินเฟ้อกันเถอะครับ
«
ตอบกลับ #13 เมื่อ:
สิงหาคม 07, 2017, 11:04:55 PM »
2. ช่องทางสินเชื่อ (Credit channel)
เมื่อธนาคารกลางปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลง อัตราดอกเบี้ยจะปรับ
ลดลง รวมทั้งอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ ส่งผลให้ภาระ
หนี้สินของภาคธุรกิจลดลงและฐานะการเงินปรับดีขึ้น สถาบันการเงินจึงยินดีที่
จะปล่อยสินเชื่อให้กับภาคธุรกิจมากขึ้นตามความเสี่ยงที่ลดลง ท าให้ภาคธุรกิจ
สามารถขยายการลงทุนและสนับสนุนการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ
บันทึกการเข้า
benzkung
PREVILEGE MEMBER
กระทู้: 5,160
Total likes: 117
คะแนนพิเศษ: +1/-0
Re: มาคุยเรื่องเงินเฟ้อกันเถอะครับ
«
ตอบกลับ #14 เมื่อ:
สิงหาคม 07, 2017, 11:06:22 PM »
3. ช่องทางมูลค่าสินทรัพย์(Asset price channel)
เมื่อธนาคารกลางปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลง อัตราดอกเบี้ยจะปรับ
ลดลง รวมทั้งอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ประชาชนจึงหันไป
ออมเงินหรือลงทุนในรูปแบบอื่นๆ เช่น บ้าน ที่ดิน ทองค า หุ้น ซึ่งให้
ผลตอบแทนสูงกว่าการฝากเงินในธนาคาร ส่งผลให้ราคาสินทรัพย์เหล่านี้เพิ่ม
สูงขึ้นตามความต้องการที่เพิ่มขึ้น เมื่อราคาสินทรัพย์เหล่านี้สูงขึ้น ประชาชนจะ
รู้สึกว่ามีความมั่งคั่ง (wealth) เพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ความต้องการบริโภคสินค้า
และบริการต่างๆ เพิ่มขึ้นตามไปด้วย ในขณะเดียวกัน ราคาสินทรัพย์ที่เพิ่มขึ้น
ท าให้มูลค่าของธุรกิจเพิ่มขึ้นและท าให้การขยายการลงทุนมีความคุ้มค่ามากขึ้น
ส่งผลให้ภาคธุรกิจต้องการลงทุน และจากการเพิ่มขึ้นของการบริโภคและการ
ลงทุนนี้เองจะส่งผลให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจขยายตัวในที่สุด
บันทึกการเข้า
benzkung
PREVILEGE MEMBER
กระทู้: 5,160
Total likes: 117
คะแนนพิเศษ: +1/-0
Re: มาคุยเรื่องเงินเฟ้อกันเถอะครับ
«
ตอบกลับ #15 เมื่อ:
สิงหาคม 07, 2017, 11:06:37 PM »
4. ช่องทางอัตราแลกเปลี่ยน (Exchange rate channel)
เมื่อธนาคารกลางปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลง อัตราดอกเบี้ยใน
ตลาดการเงินจะปรับลดลง ส่งผลให้ผลตอบแทนของการลงทุนในประเทศลดลง
เมื่อเทียบกับการลงทุนในต่างประเทศ ท าให้เงินทุนไหลออกไปลงทุนในประเทศ
ที่ให้ผลตอบแทนสูงกว่า ซึ่งการไหลออกของเงินทุนนี้เองจะมีผลท าให้ค่าเงินบาท
อ่อนลง ท าให้การส่งออกเพิ่มมากขึ้น เพิ่มการผลิตสินค้า การลงทุน การจ้างงาน
และรายได้ในประเทศ ขณะเดียวกันเงินบาทที่อ่อนค่าลงท าให้การน าเข้าลดลง
ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศขยายตัวสูงขึ้น
บันทึกการเข้า
benzkung
PREVILEGE MEMBER
กระทู้: 5,160
Total likes: 117
คะแนนพิเศษ: +1/-0
Re: มาคุยเรื่องเงินเฟ้อกันเถอะครับ
«
ตอบกลับ #16 เมื่อ:
สิงหาคม 07, 2017, 11:06:51 PM »
5. ช่องทางการคาดการณ์ (Expectations channel)
การปรับเปลี่ยนนโยบายการเงินจะส่งผลต่อการคาดการณ์เกี่ยวกับภาวะ
เศรษฐกิจของประชาชน โดยทั่วไปแล้ว ผลกระทบของนโยบายการเงินผ่าน
ช่องทางนี้จะมีความไม่แน่นอนสูงกว่าช่องทางอื่นๆ เนื่องจากขึ้นอยู่กับการ
ตีความของตลาดเป็นหลัก ตัวอย่างเช่น ถ้าตลาดมองว่าการลดลงของอัตรา
ดอกเบี้ยนโยบายเป็นการส่งสัญญาณว่าเศรษฐกิจในอนาคตจะขยายตัวเพิ่มขึ้น
ซึ่งเป็นผลมาจากการด าเนินนโยบาย ประชาชนก็จะมีความมั่นใจในการบริโภค
และลงทุนเพิ่มมากขึ้น ท าให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจขยายตัว ในทางตรงกันข้าม
ถ้าตลาดมองว่าการลดลงของอัตราดอกเบี้ยนโยบายเป็นการส่งสัญญาณว่า
เศรษฐกิจในปัจจุบันมีความอ่อนแอกว่าที่คาดไว้จึงท าให้ธนาคารกลางต้องปรับ
ลดอัตราดอกเบี้ยลง ประชาชนก็อาจจะเกิดความไม่มั่นใจต่อภาวะเศรษฐกิจและ
ชะลอการบริโภคและลงทุนได้ในที่สุด
บันทึกการเข้า
benzkung
PREVILEGE MEMBER
กระทู้: 5,160
Total likes: 117
คะแนนพิเศษ: +1/-0
Re: มาคุยเรื่องเงินเฟ้อกันเถอะครับ
«
ตอบกลับ #17 เมื่อ:
สิงหาคม 07, 2017, 11:15:37 PM »
หากมีข้อสงสัยในตรงไหนสอบถามได้นะครับผม ^^
บันทึกการเข้า
thaimale2011
PREVILEGE MEMBER
กระทู้: 5,018
Total likes: 71
คะแนนพิเศษ: +0/-0
Re: มาคุยเรื่องเงินเฟ้อกันเถอะครับ
«
ตอบกลับ #18 เมื่อ:
กันยายน 02, 2017, 10:53:52 PM »
ขอบคุณมากๆนะครับ (:happybirthday:) (:happybirthday:) (:happybirthday:)
บันทึกการเข้า
dupbee
PREVILEGE MEMBER
กระทู้: 5,016
Total likes: 1
คะแนนพิเศษ: +0/-0
Re: มาคุยเรื่องเงินเฟ้อกันเถอะครับ
«
ตอบกลับ #19 เมื่อ:
ธันวาคม 10, 2017, 08:47:40 PM »
บันทึกการเข้า
dupbee
PREVILEGE MEMBER
กระทู้: 5,016
Total likes: 1
คะแนนพิเศษ: +0/-0
Re: มาคุยเรื่องเงินเฟ้อกันเถอะครับ
«
ตอบกลับ #20 เมื่อ:
ธันวาคม 21, 2017, 06:20:49 PM »
(:oop:) (:oop:) (:oop:) (:oop:) (:oop:) (:oop:) (:oop:)
บันทึกการเข้า
Twptsshop
ครั้งแรก ที่รู้จักพงษ์ ก็ชอบและถูกชะตาขึ้นมาทันที และเท่าที่เห็นมา พงษ์เป็นคนที่ไม่มีพิษมีภัยกับใคร โชคดีที่ได้รู้จักพงษ์ครับ
CHAMPION MEMBER
PREVILEGE MEMBER
กระทู้: 9,877
Total likes: 337
คะแนนพิเศษ: +20/-0
Re: มาคุยเรื่องเงินเฟ้อกันเถอะครับ
«
ตอบกลับ #21 เมื่อ:
มีนาคม 11, 2018, 10:16:30 PM »
ขอบคุณที่แบ่งปันข้อมูลครับ
บันทึกการเข้า
💗💗💗⚘⚘⚘
nongyosi485
รักกันต้องรักที่ใจใช่สะตัง
PREVILEGE MEMBER
กระทู้: 5,167
Total likes: 4
คะแนนพิเศษ: +0/-0
มีดีทีเปลี่ยนแปลง
Re: มาคุยเรื่องเงินเฟ้อกันเถอะครับ
«
ตอบกลับ #22 เมื่อ:
เมษายน 11, 2018, 10:59:54 PM »
wow like love kiss
บันทึกการเข้า
wud
PREVILEGE MEMBER
กระทู้: 5,166
Total likes: 14
คะแนนพิเศษ: +7/-0
Re: มาคุยเรื่องเงินเฟ้อกันเถอะครับ
«
ตอบกลับ #23 เมื่อ:
มกราคม 25, 2020, 04:10:25 PM »
บันทึกการเข้า
Kawin_x
FOUNDER MEMBER
กระทู้: 1,131
Total likes: 0
คะแนนพิเศษ: +0/-0
ทนายขี้เงี่ยน
Re: มาคุยเรื่องเงินเฟ้อกันเถอะครับ
«
ตอบกลับ #24 เมื่อ:
กุมภาพันธ์ 14, 2021, 02:11:04 PM »
ขอบคุณนะครับที่นำเสนอข้อมูลดีๆ
บันทึกการเข้า
พิมพ์
หน้า: [
1
]
2
ขึ้นบน
« หน้าที่แล้ว
ต่อไป »
Music Massage by Pong: นวดประกอบเพลงโดยพงษ์
»
Members' Forum
»
มุมทั่วไป มุมความรู้ เคล็ดลับต่างๆ เทคโนโลยีใหม่ๆ
(ผู้ดูแล:
admin
) »
มาคุยเรื่องเงินเฟ้อกันเถอะครับ
Calendar
ธันวาคม 2024
อา.
จ.
อ.
พ.
พฤ.
ศ.
ส.
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
[14]
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
- Birthdays -
JSK7FALL (46)
- Today's Events -
❌20.00(Booked)
❌12.00(Booked)
❌14.00(Booked)
❌18.00(Booked)
🔵16.00Cleaning(งดให้บริการ)
- Birthdays -
yuttha (44)
- Today's Events -
❌20.00(Booked)
❌14.00(Booked)
❌18.00(Booked)
❌12.00(Booked)
🔵16.00Cleaning(งดให้บริการ)
- Birthdays -
Aunder04 (31)
- Today's Events -
❌20.00(Booked)
❌14.00(Booked)
❌18.00(Booked)
❌12.00(Booked)
🔵16.00Cleaning(งดให้บริการ)
- Birthdays -
MariskaOn6250 (38)
- Today's Events -
❌18.00(Booked)
❌12.00(Booked)
❌14.00(Booked)
❌20.00(Booked)
🔵16.00Cleaning(งดให้บริการ)
- Birthdays -
Mariskasoiva7203 (45)
- Today's Events -
❌20.00(Booked)
🔵16.00Cleaning(งดให้บริการ)
❌18.00(Booked)
❌12.00(Booked)
❌14.00(Booked)
- Today's Events -
⛔️Close service(หยุดให้บริการ)
- Today's Events -
⛔️Close service(หยุดให้บริการ)
- Today's Events -
❌12.00(Booked)
❌20.00(Booked)
❌18.00(Booked)
❌14.00(Booked)
🔵16.00Cleaning(งดให้บริการ)
- Today's Events -
⛔️Close service(หยุดให้บริการ)
- Today's Events -
❌12.00(Booked)
❌14.00(Booked)
❌18.00(Booked)
❌20.00(Booked)
🔵16.00Cleaning(งดให้บริการ)
- Today's Events -
❌18.00(Booked)
❌12.00(Booked)
❌14.00(Booked)
❌20.00(Booked)
🔵16.00Cleaning(งดให้บริการ)
- Today's Events -
❌12.00(Booked)
❌14.00(Booked)
❌20.00(Booked)
🔵16.00Cleaning(งดให้บริการ)
❌18.00(Booked)
- Today's Events -
⛔️Close service(หยุดให้บริการ)
- Today's Events -
⛔️Close service(หยุดให้บริการ)
- Today's Events -
❌20.00(Booked)
✅18.00(Free)
❌12.00(Booked)
❌14.00(Booked)
🔵16.00Cleaning(งดให้บริการ)
- Birthdays -
Balloon3012 (36)
- Today's Events -
❌20.00(Booked)
✅18.00(Free)
❌12.00(Booked)
❌14.00(Booked)
🔵16.00Cleaning(งดให้บริการ)
- Today's Events -
❌18.00(Booked)
❌20.00(Booked)
❌12.00(Booked)
❌14.00(Booked)
🔵16.00Cleaning(งดให้บริการ)
- Today's Events -
❌18.00(Booked)
✅12.00(Free)
❌14.00(Booked)
❌20.00(Booked)
🔵16.00Cleaning(งดให้บริการ)
- Today's Events -
❌20.00(Booked)
🔵16.00Cleaning(งดให้บริการ)
❌18.00(Booked)
❌12.00(Booked)
✅14.00(Free)
- Today's Events -
⛔️Close service(หยุดให้บริการ)
- Today's Events -
⛔️Close service(หยุดให้บริการ)
- Today's Events -
❌12.00(Booked)
❌18.00(Booked)
❌20.00(Booked)
🔵16.00Cleaning(งดให้บริการ)
- Today's Events -
✅12.00(Free)
✅14.00(Free)
❌18.00(Booked)
❌20.00(Booked)
🔵16.00Cleaning(งดให้บริการ)
- Today's Events -
❌18.00(Booked)
❌20.00(Booked)
❌12.00(Booked)
✅14.00(Free)
🔵16.00Cleaning(งดให้บริการ)
- Today's Events -
✅12.00(Free)
❌14.00(Booked)
❌20.00(Booked)
❌18.00(Booked)
🔵16.00Cleaning(งดให้บริการ)
- Today's Events -
❌20.00(Booked)
❌18.00(Booked)
🔵16.00Cleaning(งดให้บริการ)
❌12.00(Booked)
✅14.00(Free)
- Today's Events -
⛔️Close service(หยุดปีใหม่)
- Today's Events -
⛔️Close service(หยุดปีใหม่)
- Today's Events -
⛔️Close service(หยุดปีใหม่)
- Today's Events -
⛔️Close service(หยุดปีใหม่)
No calendar events were found.