เมื่อในอดีต การดูแลผู้ป่วยจะอยู่ในรูปแบบที่ไม่ครอบคลุม การให้ยาจะอยู่ในวงจำกัด ผู้ป่วยหลายๆคนต้องเสียชีวิตจากโรคระบาดที่เกิดในอดีต
เนื่องจากปัจจุบันวิวัฒนาการของอาหารนั้นไปไกลมาก จนคนทั่วไปไม่อาจทราบได้ว่าด้วยเรื่องการรักษาด้วยวิธีต่าง ๆมีแบบใดบ้าง เช่นนั้นการให้อาหารผู้ป่วยเช่นกันก็มีหลากหลายวิธีให้เลือกตามความเหมาะสมของโรคนั้น ๆ พบว่าการให้อาหารนั้นนอกจากจะให้ทางปากได้แล้วยังพบว่าสามารถให้ทางอื่นได้อีกด้วย เนื่องจากวิธีการแพทย์พยายามหาวิธีให้อาหารกับผู้เจ็บป่วย ให้ได้รับอาหารในจำนวนที่เพียงพอความต้องการของร่างกายที่ต้องการพลังงานไปใช้ในชีวิตประจำวันหรือขณะเจ็บป่วย กลับพบว่าผู้ป่วยจำนวนมากรับประทานอาหารเองได้ค่อนข้างน้อย ไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกายที่ต้องใช้ หรือบางรายอาจจะรับไม่ได้เลย หรือในบางรายแพทย์ก็อาจห้ามรับอาหารหรือให้อาหารผ่านเข้าสู่ทางเดินอาหารก็เป็นได้ โดยวิธีการให้อาหารมี 2 ทางที่นิยมใช้และยังพบใช้ได้ในโรงพยาบาลทั่วไป คือการให้เข้าสู่ทางเดินอาหาร
นั่นคือการใส่ท่อผ่านทางรูจมูกตรงสู่กระเพาะอาหาร หรือกระเพาะอาหารส่วนต้นของลำไส้เล็กโดยวิธีการทำผ่าตัดอาหารที่ให้ควรเป็นอาหารเหลว และวิธีที่พบบ่อยอีกเช่นกันให้อาหารผ่านทางหลอดเลือดดำใต้ผิวหนังโดยใช้เข็มหรือใช้สายสวนสอดเขาใต้ผิวหนัง เพื่อที่จะให้สารอาหารหรืออาหารในรูปแบบของเหลวไหลผ่านเข้าสู่ระบบไหลเวียนเลือด เพื่อให้ได้รับยาและสารอาหารให้ครบ ซึ่งเราจะเข้าใจว่าการให้สารละลายผ่านเส้นเลือดดำคือการให้น้ำเกลือเพื่อการรักษาหรือทำให้รู้สึกดีขึ้นจากอาการป่วย แต่การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำก็สามารถให้อาหารได้เช่นเดียวกัน ถือว่าเป็นอาหารเช่นเดียวกับที่คนปกติรับประทานที่สามารถพบเจอได้ทั่วไป คือส่วนประกอบของอาหารก็มีอยู่ 6 อย่างด้วยกัน ที่เป็นอาหารหลักคือ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เกลือแร่ วิตามิน และสิ่งสุดท้ายคือ น้ำ ซึ่งอาหารที่เราจะให้ผู้ป่วยรับประทานก็ควรประกอบด้วยอาหารหลักทั้ง 6 อย่างเช่นกัน
อาหารผู้ป่วย ประเภทของผู้ป่วยที่ต้องให้อาหารทางหลอดเลือดดำ ดูเพิ่มเติมที่นี่ https://thetastefood.com/อาหารสายยาง/